วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บทที่3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล


บทที่3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล



การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการดังนี้
1. เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น
2. เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
3. เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น
4. เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น
  องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) ทำหน้าที่ส่งข้อมูล
2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) ทำหน้าที่รับข้อมูล
3. ข้อมูล (Data) ข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล อาจอยู่ในรูปของข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
4. สื่อนำข้อมูล (Medium) ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูล เช่น สายเคเบิล ใยแก้วนำแสง อากาศ
5. โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสารที่ตกลง กันระหว่าง ผู้ส่งข้อมูล กับ ผู้รับข้อมูล


บทที่1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

บทที่1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์



1. การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สำคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าได้หรือโปรแกรมได้ (programmable)
นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคำสั่งที่เลือกมาใช้งาน ทำให้สามารถนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก-ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์คือ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทำงานพื้นฐาน 4 อย่าง(IPOS cycle)
I ==> รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีย์บอร์ด หรือ เมาส์

P ==> ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลกับข้อมูลแปลงให้อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ

O ==> แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่นเครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ

S ==> เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ในอนาคต




     

บทที่2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน




บทที่2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน



๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถรับรู้การทำงานได้ ต่างจากฮาร์ดแวร์ (Hardware)

๒. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ โปรแกรมควบคุมและประสานการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ


ซอฟต์แวร์ประยุกต์คืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย

Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้




         

วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พ่อของฉัน

ความรู้สึกที่มีต่อพ่อ


    วันพ่อนี้ผมอยู่กับแม่ถึงแม้ว่าผมจะรักแม่มากกว่าพ่อ แต่ผมก็รักพ่อเพราะพ่อเป็นพ่อของผม พุ้งนี้เป็นวันพ่อแล้ว ผมน้ำตาแท็บเล็ตเพราะพรุ่งนี้จะเป็นวันพ่อแล้ว ผมอยากจะร้องเพลงให้พ่อฟัง แต่ผมร้องเพลงไม่เป็น ผมเลยตัดสินใจไม่ร้อง เพราะกลัวพ่อจะด่า ผมจะไม่กินเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ไม่เสพยาเสพติด ผมจะเป็นตัวอย่างที่ดีของน้อง ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่พูดปรด ไม่พูดโกหก ผมจะถือศีลทั้ง5ข้อให้ได้ ผมไม่เคยดื่มเหล้าเลย เพราะเหล้าทำให้คนเมา พอคนเมาผมก็จะเสียคน พ่อก็ต้องไม่กินเหล้านะก้าฟฟ ผมอยากให้พ่อกินอาหารให้ครบ5หมู่ ไม่ทะเลาะกับเพื่อนบ้าน เป็นผู้ใหญ่ที่น่าเคารพ น่านับถือ ถึงพ่อจะเป็นพ่อคนเดียวของผมแต่ผมก็รักพ่อ ผมอยากแต่งกลอนให้พ่อสักครั้งผมจะลองแต่งดูนะครับ
 วันพ่อนี้ผมกะจะซื้อดอกมะลิให้พ่อเพื่อทดแทนบุญคุณจะตั้งใจเรียน "ผมรักพ่อนะก้าป"